พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
ล.ป.คำจันทร์ วั...
ล.ป.คำจันทร์ วัดบ้านเมยพระผงเกลียวเชือกรุ่นแรก หลวงปู่คำจันทร์ ปัญญาโภ วัดบ้านเมย ต.ดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์เนื้อว่านสบู่เลือดหล้งตกุด 3 Kหมายเลข 50 จัดสร้าง 299 องค์
พระผงเกลียวเชือกรุ่นแรก
หลวงปู่คำจันทร์ ปัญญาโภ
วัดบ้านเมย ต.ดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
มวลสารพระผงเกลียวเชือกรุ่นแรก
”รวยมหาเศรษฐี๖๒”
1.เกศาหลวงปู่
2.จีวรหลวงปู่
3. เล็บหลวงปู่
4.ดินจากพุทธสังเวชนียสถานทั้ง 4 แห่ง
5.มวลสารพระขุนแผนรุ่นแรก
6.ผงว่านสาวหลงตัวผู้
7.ผงว่านสาวหลงตัวเมีย
8.ผงดอกไม้หลวงปู่ไหว้พระ
9.ผงพระธาตุนาดู
10.ผงว่านจำปาสักบรรจุกรุที่ขุดพบหน้าศาลาวัดบ้านเมย
11.ผงว่านที่สร้างจตุคามที่หลวงปู่เก็บไว้
12.ผงว่าน 108 ชนิด
13.ผงขี้สูตรดินเพียง
14.ผงแร่เหล็กต่างๆหลายร้อยชนิดที่ลูกศิษย์มอบถวายหลวงปู่ อาทิ แร่เหล็กไหล
15.ผงตะใบที่รวบรวมจากการสร้างพระหลายๆรุ่น ลูกศิษย์มอบถวายให้หลวงปู่
16.น้ำมันเจ็ดกลิ่น
17.ดินพระธาตุยาคู
18.น้ำมันมนต์ 108 หลวงพ่อเจริญ วัดโนนสว่าง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
19.แร่สะเก็ดดาว
20.กรามช้าง
21.ผงธูปพระธาตุยาคู
22.ผงพุทธคุณพระสมเด็จ
23.ผงไม้งิ้วดำ
24.ผงไม้พยุงดำ
25.ผงไม้แก่นมะขาม
26.ผงไม้ไผ่ตัน
27.ผงไม้ขนุนตายพราย
28.ผงไม้มะยมตรายพราย
29.ผงกะลาตาเดียว
30.ว่านไพลดำ
31.ว่านสบู่เลือด
32.บอระเพ็ดพุงช้าง
33.ว่านสามพันตึง
34. ว่านแร้งคอดำ
35.ว่านทรหด
36.ว่านพระอาทิตย์
37.ว่านกำแพงเก้าชั้น
38.พญาว่าน
39.ว่านท้าวชมพูหนังแห้ง
40.ว่านหุนมานนั่งแท่น
41.กาฝาก 108 ชนิด
42.ผงอิฐโบสถ์เก่า
43.แร่ภูเขาไฟ
44.ผงจตุคาม รุ่นมหาโภคทรัพย์วัดมหาธาตุนครศรีธรรมราช
45.แร่เกาะล้าน
46.แร่เขาอึมครึม
47.ดินกากยายักษ์
48.เหล็กไหลเปียก
49.เขี้ยวหนุมาน
50.ดิน 7 จอมปลวก
51.งาช้างดำ
52.พระผงหลวงปู่บุญ วัดหมากมี่
53.ลูกอมหลวงปู่ดู่ วัดสะเเก
54.ขุนเเผนหลวงพ่อหนุน วัดพุทธโมกข์
55.ฝ้ายผูกเเขน ปู่หา วัดสักกะวัน
56.ฝ้ายผูกแขนหลวงปู่บู่ วัดสุมังคลารามสกล
57.ฝ้ายผูกแขนหลวงปู่ชม วัดสามัคคี
58.ฝ้ายผูกแขนหลวงปู่หนูอินทร์ กิตติสาโร
59.ฝ้ายผูกแขนหลวงปู่ญาท่านสวน
60. ผงว่าน108 และพระผงทั่วประเทศ
61.ผงท้าวเวสหลวงปู่เฉย ที่แตกหัก
หลวงปู่คำจันทร์ ปัญญาโภ 
“พระครูปริยัตยานุวัตร”
วัดบ้านเมย
 ต.ดงลิง
 อ.กมลาไสย 
จ.กาฬสินธุ์ 
พระเถระชั้นผู้ใหญ่ได้รับการยกย่องว่าเคร่งครัดระเบียบวินัย ใส่ใจด้านการปฏิบัติกัมมัฏฐาน เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน มีจิตใจที่เปี่ยมด้วยความเมตตา
ปัจจุบัน สิริอายุ 87 ปี พรรษา 66
ชาติภูมิ 
มีนามเดิม คำจันทร์ ทองห้า 
เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 ส.ค.2475 
ที่บ้านสวนโคก ต.ดงลิง 
อ.กมาลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 
บิดาชื่อ นายพรหม ทองห้า
มารดาชื่อนางคำมา ทองห้า 
มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 5 คนช่วงวัยเยาว์ มีนิสัยชอบสันโดษ ไม่ค่อยจะซุกซนเหมือนกับเด็กวัยเดียวกัน บิดาและมารดามักจะพาไปทำบุญที่วัดบ้านสวนโคกอยู่เสมอ พออายุเข้าโรงเรียน พ่อแม่ส่งเข้าเรียนที่โรงเรียนสวนโคกเมยวิทยา (ชื่อเดิม) จนจบชั้น ป.4 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดของโรงเรียนในตอนนั้นเป็นคนเรียนเก่ง ฉลาดเฉลียว เป็นเด็กว่านอนสอนง่าย ชอบช่วยเหลืองานการของบิดามารดาอย่างดี หลังจากจบชั้นป.4 ไม่ได้เรียนต่อที่ไหน ด้วยฐานะทางบ้านยากจน จึงได้ออกมาช่วยพ่อแม่ทำนา หาเลี้ยงชีพตามวิถีชีวิตของชาวบ้านชนบทอายุ 22 ปี เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อปี พ.ศ.2497 ที่วัดบ้านเมย อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 
มีพระครูสถิตปุญญาคม 
เจ้าอาวาสวัดบ้านสวนโคก 
เจ้าคณะตำบลดงลิง 
เป็นพระอุปัชฌาย์, 
พระอาจารย์มี ปภากโร 
วัดบ้านโนนเมือง 
เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระอาจารย์สุวิทย์ 
วัดบ้านดอนหวาย 
เป็นพระอนุศาสนาจารย์
หลังจากบวชได้ระยะหนึ่ง ได้ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดบ้านสวนโคก และศึกษา พระปริยัติธรรมด้วยความมุ่งมั่น
พ.ศ.2503 สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี–โท–เอก พ.ศ.2505 ได้รับแต่งตั้ง เจ้าอาวาสวัดบ้านเมย และแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะตำบลดงลิง พ.ศ.2511 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์พ.ศ.2516 ได้พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะตำบลชั้นตรี ในราชทินนามที่ พระครูปริยัตยานุวัตร พ.ศ.2538 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะตำบลชั้นโท ในราชทินนามเดิม ซึ่งตอนนั้นจำพรรษาที่วัดสมัยสำราญ อ.บึงกาฬ จ.หนองคาย
นอกจากนี้ ยังให้ความสนใจด้านวิทยาคม ฝากตัวเป็นศิษย์กับพระเกจิดังหลายรูป อาทิ พระครูสถิตย์ปุญญาคม เจ้าอาวาสวัดบ้านสวนโคก, 
หลวงปู่แพง วัดโพธิ์ร้อยต้นอ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด, 
หลวงปู่ปัน วัดโพธิ์ศรีบึงไฮต.หลักเมือง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
 หลวงปู่ศรี ถ้ำภูเขาควาย ประเทศลาว, 
หลวงปู่ชา สุภัทโท 
วัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี, 
หลวงพ่อเก้า วัดบ้านโพนงาม
 อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์,
 หลวงปู่ทองมา ถาวโร 
วัดสว่างท่าสี อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด เป็นต้น
พ.ศ.2520 ธุดงค์ไปจำพรรษาที่วัดสมัยสำราญ อ.บึงกาฬ จ.หนองคาย ในสมัยนั้นจำพรรษาอยู่ที่วัดสมัยสำราญ 12 ปี จึงออกธุดงค์ไปยังสถานที่อื่นๆ หลายต่อหลายแห่ง จำพรรษาอยู่ที่ อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ 1 ปี หลังจากนั้นได้ออกธุดงค์กลับภาคอีสาน จำพรรษาอยู่ที่วัดห้วยพรหม อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา กับพระครูประโชติสังฆกิจ และที่วัดแห่งนี้ได้เรียนวิชาแพทย์แผนไทย การใช้สมุนไพรรักษาคนป่วยจนมีชื่อเสียงจากนั้นออกธุดงค์หาที่สงบเพื่อจำพรรษาไปหลายต่อหลายที่ จนมาถึงบ้านฝาง อ.กระนวน จ.ขอนแก่น หลวงปู่จำพรรษาที่วัดศูนย์ปฏิบัติธรรม จำพรรษาอยู่ที่นี่ 12 ปี พัฒนาจนวัดมีความเจริญรุ่งเรือง นำญาติโยม สร้างอุโบสถ และศาลาการเปรียญจนแล้วเสร็จ
หลังจากนั้นชาวบ้านเมยเห็นว่าอายุมากแล้ว จึงได้ตกลงกันนิมนต์ให้กลับมาจำพรรษาที่วัดบ้านเมย ต.ดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
ด้วยความที่มีชาวบ้านให้ความเลื่อมใสศรัทธาเป็นจำนวนมาก จึงจัดสร้างวัตถุมงคล ส่วนมากจะมอบให้ผู้ที่ร่วมทำบุญสร้างเสนาสนะภายในวัด
ด้วยความเมตตาของท่านที่คอยช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากอย่างเต็มที่ ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง จนชื่อเสียงของหลวงปู่โด่งดังขจรขจายไปทั่วทุกทิศ ทำให้มีลูกศิษย์ลูกหาจำนวนมากเข้ามากราบฝากตัวเป็นศิษย์
เผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนสืบทอดพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงอยู่เป็นเนืองนิตย์ พัฒนาวัดเก่าแก่เสื่อมโทรม จนกลายเป็นวัดพัฒนาควรแก่การยกย่องเกียรติคุณ
ผู้เข้าชม
488 ครั้ง
ราคา
250
สถานะ
เปิดให้บูชา
ชื่อร้าน
บารมีบุญพระเครื่อง
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
rit3009
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 008-8-93615-9

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Beerchang พระเครื่องเทพจิระเปียโนหริด์ เก้าแสนstp253termboon
Netnapatumlawyerมนต์เมืองจันท์เอก พานิชพระเครื่องบ้านพระสมเด็จชาวานิช
ไกร วรมันชา วานิชsomemanhra7215jochoว.ศิลป์สยาม
เจริญสุขภูมิ IRLe29Amuletโจ๊ก ป่าแดงน้ำตาลแดงhopperman
sirachalordtplasep8600tintinเพ็ญจันทร์

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1411 คน

เพิ่มข้อมูล

ล.ป.คำจันทร์ วัดบ้านเมยพระผงเกลียวเชือกรุ่นแรก หลวงปู่คำจันทร์ ปัญญาโภ วัดบ้านเมย ต.ดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์เนื้อว่านสบู่เลือดหล้งตกุด 3 Kหมายเลข 50 จัดสร้าง 299 องค์




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
ล.ป.คำจันทร์ วัดบ้านเมยพระผงเกลียวเชือกรุ่นแรก หลวงปู่คำจันทร์ ปัญญาโภ วัดบ้านเมย ต.ดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์เนื้อว่านสบู่เลือดหล้งตกุด 3 Kหมายเลข 50 จัดสร้าง 299 องค์
รายละเอียด
พระผงเกลียวเชือกรุ่นแรก
หลวงปู่คำจันทร์ ปัญญาโภ
วัดบ้านเมย ต.ดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
มวลสารพระผงเกลียวเชือกรุ่นแรก
”รวยมหาเศรษฐี๖๒”
1.เกศาหลวงปู่
2.จีวรหลวงปู่
3. เล็บหลวงปู่
4.ดินจากพุทธสังเวชนียสถานทั้ง 4 แห่ง
5.มวลสารพระขุนแผนรุ่นแรก
6.ผงว่านสาวหลงตัวผู้
7.ผงว่านสาวหลงตัวเมีย
8.ผงดอกไม้หลวงปู่ไหว้พระ
9.ผงพระธาตุนาดู
10.ผงว่านจำปาสักบรรจุกรุที่ขุดพบหน้าศาลาวัดบ้านเมย
11.ผงว่านที่สร้างจตุคามที่หลวงปู่เก็บไว้
12.ผงว่าน 108 ชนิด
13.ผงขี้สูตรดินเพียง
14.ผงแร่เหล็กต่างๆหลายร้อยชนิดที่ลูกศิษย์มอบถวายหลวงปู่ อาทิ แร่เหล็กไหล
15.ผงตะใบที่รวบรวมจากการสร้างพระหลายๆรุ่น ลูกศิษย์มอบถวายให้หลวงปู่
16.น้ำมันเจ็ดกลิ่น
17.ดินพระธาตุยาคู
18.น้ำมันมนต์ 108 หลวงพ่อเจริญ วัดโนนสว่าง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
19.แร่สะเก็ดดาว
20.กรามช้าง
21.ผงธูปพระธาตุยาคู
22.ผงพุทธคุณพระสมเด็จ
23.ผงไม้งิ้วดำ
24.ผงไม้พยุงดำ
25.ผงไม้แก่นมะขาม
26.ผงไม้ไผ่ตัน
27.ผงไม้ขนุนตายพราย
28.ผงไม้มะยมตรายพราย
29.ผงกะลาตาเดียว
30.ว่านไพลดำ
31.ว่านสบู่เลือด
32.บอระเพ็ดพุงช้าง
33.ว่านสามพันตึง
34. ว่านแร้งคอดำ
35.ว่านทรหด
36.ว่านพระอาทิตย์
37.ว่านกำแพงเก้าชั้น
38.พญาว่าน
39.ว่านท้าวชมพูหนังแห้ง
40.ว่านหุนมานนั่งแท่น
41.กาฝาก 108 ชนิด
42.ผงอิฐโบสถ์เก่า
43.แร่ภูเขาไฟ
44.ผงจตุคาม รุ่นมหาโภคทรัพย์วัดมหาธาตุนครศรีธรรมราช
45.แร่เกาะล้าน
46.แร่เขาอึมครึม
47.ดินกากยายักษ์
48.เหล็กไหลเปียก
49.เขี้ยวหนุมาน
50.ดิน 7 จอมปลวก
51.งาช้างดำ
52.พระผงหลวงปู่บุญ วัดหมากมี่
53.ลูกอมหลวงปู่ดู่ วัดสะเเก
54.ขุนเเผนหลวงพ่อหนุน วัดพุทธโมกข์
55.ฝ้ายผูกเเขน ปู่หา วัดสักกะวัน
56.ฝ้ายผูกแขนหลวงปู่บู่ วัดสุมังคลารามสกล
57.ฝ้ายผูกแขนหลวงปู่ชม วัดสามัคคี
58.ฝ้ายผูกแขนหลวงปู่หนูอินทร์ กิตติสาโร
59.ฝ้ายผูกแขนหลวงปู่ญาท่านสวน
60. ผงว่าน108 และพระผงทั่วประเทศ
61.ผงท้าวเวสหลวงปู่เฉย ที่แตกหัก
หลวงปู่คำจันทร์ ปัญญาโภ 
“พระครูปริยัตยานุวัตร”
วัดบ้านเมย
 ต.ดงลิง
 อ.กมลาไสย 
จ.กาฬสินธุ์ 
พระเถระชั้นผู้ใหญ่ได้รับการยกย่องว่าเคร่งครัดระเบียบวินัย ใส่ใจด้านการปฏิบัติกัมมัฏฐาน เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน มีจิตใจที่เปี่ยมด้วยความเมตตา
ปัจจุบัน สิริอายุ 87 ปี พรรษา 66
ชาติภูมิ 
มีนามเดิม คำจันทร์ ทองห้า 
เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 ส.ค.2475 
ที่บ้านสวนโคก ต.ดงลิง 
อ.กมาลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 
บิดาชื่อ นายพรหม ทองห้า
มารดาชื่อนางคำมา ทองห้า 
มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 5 คนช่วงวัยเยาว์ มีนิสัยชอบสันโดษ ไม่ค่อยจะซุกซนเหมือนกับเด็กวัยเดียวกัน บิดาและมารดามักจะพาไปทำบุญที่วัดบ้านสวนโคกอยู่เสมอ พออายุเข้าโรงเรียน พ่อแม่ส่งเข้าเรียนที่โรงเรียนสวนโคกเมยวิทยา (ชื่อเดิม) จนจบชั้น ป.4 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดของโรงเรียนในตอนนั้นเป็นคนเรียนเก่ง ฉลาดเฉลียว เป็นเด็กว่านอนสอนง่าย ชอบช่วยเหลืองานการของบิดามารดาอย่างดี หลังจากจบชั้นป.4 ไม่ได้เรียนต่อที่ไหน ด้วยฐานะทางบ้านยากจน จึงได้ออกมาช่วยพ่อแม่ทำนา หาเลี้ยงชีพตามวิถีชีวิตของชาวบ้านชนบทอายุ 22 ปี เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อปี พ.ศ.2497 ที่วัดบ้านเมย อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 
มีพระครูสถิตปุญญาคม 
เจ้าอาวาสวัดบ้านสวนโคก 
เจ้าคณะตำบลดงลิง 
เป็นพระอุปัชฌาย์, 
พระอาจารย์มี ปภากโร 
วัดบ้านโนนเมือง 
เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระอาจารย์สุวิทย์ 
วัดบ้านดอนหวาย 
เป็นพระอนุศาสนาจารย์
หลังจากบวชได้ระยะหนึ่ง ได้ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดบ้านสวนโคก และศึกษา พระปริยัติธรรมด้วยความมุ่งมั่น
พ.ศ.2503 สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี–โท–เอก พ.ศ.2505 ได้รับแต่งตั้ง เจ้าอาวาสวัดบ้านเมย และแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะตำบลดงลิง พ.ศ.2511 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์พ.ศ.2516 ได้พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะตำบลชั้นตรี ในราชทินนามที่ พระครูปริยัตยานุวัตร พ.ศ.2538 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะตำบลชั้นโท ในราชทินนามเดิม ซึ่งตอนนั้นจำพรรษาที่วัดสมัยสำราญ อ.บึงกาฬ จ.หนองคาย
นอกจากนี้ ยังให้ความสนใจด้านวิทยาคม ฝากตัวเป็นศิษย์กับพระเกจิดังหลายรูป อาทิ พระครูสถิตย์ปุญญาคม เจ้าอาวาสวัดบ้านสวนโคก, 
หลวงปู่แพง วัดโพธิ์ร้อยต้นอ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด, 
หลวงปู่ปัน วัดโพธิ์ศรีบึงไฮต.หลักเมือง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
 หลวงปู่ศรี ถ้ำภูเขาควาย ประเทศลาว, 
หลวงปู่ชา สุภัทโท 
วัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี, 
หลวงพ่อเก้า วัดบ้านโพนงาม
 อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์,
 หลวงปู่ทองมา ถาวโร 
วัดสว่างท่าสี อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด เป็นต้น
พ.ศ.2520 ธุดงค์ไปจำพรรษาที่วัดสมัยสำราญ อ.บึงกาฬ จ.หนองคาย ในสมัยนั้นจำพรรษาอยู่ที่วัดสมัยสำราญ 12 ปี จึงออกธุดงค์ไปยังสถานที่อื่นๆ หลายต่อหลายแห่ง จำพรรษาอยู่ที่ อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ 1 ปี หลังจากนั้นได้ออกธุดงค์กลับภาคอีสาน จำพรรษาอยู่ที่วัดห้วยพรหม อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา กับพระครูประโชติสังฆกิจ และที่วัดแห่งนี้ได้เรียนวิชาแพทย์แผนไทย การใช้สมุนไพรรักษาคนป่วยจนมีชื่อเสียงจากนั้นออกธุดงค์หาที่สงบเพื่อจำพรรษาไปหลายต่อหลายที่ จนมาถึงบ้านฝาง อ.กระนวน จ.ขอนแก่น หลวงปู่จำพรรษาที่วัดศูนย์ปฏิบัติธรรม จำพรรษาอยู่ที่นี่ 12 ปี พัฒนาจนวัดมีความเจริญรุ่งเรือง นำญาติโยม สร้างอุโบสถ และศาลาการเปรียญจนแล้วเสร็จ
หลังจากนั้นชาวบ้านเมยเห็นว่าอายุมากแล้ว จึงได้ตกลงกันนิมนต์ให้กลับมาจำพรรษาที่วัดบ้านเมย ต.ดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
ด้วยความที่มีชาวบ้านให้ความเลื่อมใสศรัทธาเป็นจำนวนมาก จึงจัดสร้างวัตถุมงคล ส่วนมากจะมอบให้ผู้ที่ร่วมทำบุญสร้างเสนาสนะภายในวัด
ด้วยความเมตตาของท่านที่คอยช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากอย่างเต็มที่ ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง จนชื่อเสียงของหลวงปู่โด่งดังขจรขจายไปทั่วทุกทิศ ทำให้มีลูกศิษย์ลูกหาจำนวนมากเข้ามากราบฝากตัวเป็นศิษย์
เผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนสืบทอดพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงอยู่เป็นเนืองนิตย์ พัฒนาวัดเก่าแก่เสื่อมโทรม จนกลายเป็นวัดพัฒนาควรแก่การยกย่องเกียรติคุณ
ราคาปัจจุบัน
250
จำนวนผู้เข้าชม
492 ครั้ง
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
ชื่อร้าน
บารมีบุญพระเครื่อง
URL
เบอร์โทรศัพท์
0910162844
ID LINE
rit3009
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 008-8-93615-9




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี